ริดสีดวงทวาร 4 ชนิด



ชนิดและลักษณะที่เกิดในทวาร มี 4 ชนิด ได้แก่

1.เดือยไก่ จะเป็นติ่งเนื้อที่เกิดขึ้นในรูทวาร ลักษณะจะเป็นหัวเดี่ยวหรือหลายหัว แต่หัวจะไม่อยู่ติดกัน (ไม่ใช่ ไม่เหมือน ฝีคัณฑสูตร)

2.กีบมะไฟ ขนาดหัวจะเล็กเกิดติดๆกันหลายๆหัวขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้าง

3.กีบมะเฟือง ขนาดหัวจะใหญ่ ทั้งกีบมะไฟและกีบมะเฟืองจะมีลักษณะแตกต่างกันที่ขนาดของหัว แต่จะเป็นติ่งเนื้อ เป็นหัว ที่เกิดติดๆกัน เล็ก ใหญ่ ยื่นออกมาย้อยคล้อยออกมานอกขอบทวารเวลาขับถ่าย

4.บานทะโรค ลักษณะที่เป็นคล้ายฝักบัว หัวจะคล้ายฝักบัว หัวจะปลิ้นย้อยออกมานอกขอบทวารดูคล้ายฝักบัว จะบานออกมาทั้งหมด

คำยืนยันการรักษา หายจากผู้ป่วยริดสีดวงทวาร

  



อาการของโรคริดสีดวงทวาร

   อาการ มีหัวหรือติ่งเนื้อเล็กใหญ่ มีอาการเจ็บ ปวด บวม แสบ คัน มีหัว มีติ่งเนื้อออกมาอยู่ด้านนอก มีเลือดไหล ไหลหยด ไหลพุ่งเป็นเส้น ตัวเหลือง หน้าซีด ;วิงเวียนหมดแรง หน้ามืด คล้ายจะเป็นลม

   ริดสีดวงทวารเกิดจากพฤติกรรม การกิน และการถ่ายไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดโรคริดสีดวงทวาร

   ลักษณะของโรค จะมีติ่งเนื้อเกิดขึ้นที่ปลายลำใส้ใหญ่ด้านในและบริเวณขอบทวาร จะโตขึ้นจากการเบ่งถ่าย นั่งห้องน้ำนานๆ ท้องผูก ท้องเสียเป็นประจำ กินของแสลง(กลุ่มคาวแรง)

หัวริดสีดวงแบ่งเป็น 4 ระยะ
  1.หัวเล็กๆอยู่ด้านใน
  2.ถ่ายแล้วหัวออกมา แล้วกลับเข้าไปเองได้
  3.ถ่ายแล้วหัวออกมาด้านนอกแล้วกลับเข้าไปเองไม่ได้ต้องใช้มือช่วยดันจึงจะเข้าไปได้
  4.ถ่ายแล้วหัวออกมาอยู่ด้านนอกถึงจะเอามือช่วยดันก็ไม่สามารถกลับเข้าไปจะอยู่ด้านนอกตลอด


การรักษาโรคริดสีดวงทวาร

    ใช้ยาน้ำสมุนไพร ทา บริเวณที่เป็นติ่งเนื้อ ทั้งด้านนอกและด้านใน(จึงจะหายขาด) ขณะที่ทาจะมีอาการแสบ โดยทายา 7 วันครั้ง ติดต่อกัน 3 ครั้ง เป็นมากไม่เกิน 5 ครั้ง ช่วงเวลา 1-7 วันระหว่างการรักษา ให้ทำความสะอาด(เข้าห้องน้ำ)โดยใช้น้ำเปล่าล้างวันละ 4 ครั้งจนหาย "วิธีนี้หาย โดยไม่ต้องผ่าตัด"






ผลการรักษาด้วยยาน้ำสมุนไพร

ภาพที่ 1
ก่อนการรักษา ชนิดกลีบมะเฟือง เป็นมา 7 ปี
ภาพที่ 2
รักษาด้วยยาน้ำสมุนไพรใช้ทา
ภาพที่ 3
หลังจากการรักษาได้15วัน
ภาพที่ 4
หทายาครั้งที่ 2 หัวเปื่อยเล็กลง
ภาพที่ 5
หัวมีขนาดเล็กลง หูรูดเริ่มเข้าที่
ภาพที่ 6
ทายาครั้งที่ 3 
ภาพที่ 7
หัวมีขนาดเล็กลง 80%
ภาพที่ 8
ทายาครั้งที่ 4
ภาพที่ 9
ขอบทวารด้านขวาหายสนิทหูรูดเข้าที่
ภาพที่ 10
ทายาน้ำสมุนไพรครั้งที่ 5
ภาพที่ 11
หูรูดรอเข้าที่สนิท รอการหาย
ภาพที่ 12
หูรูดเข้าที่เป็นปกติไม่มีผลข้างเคียง 
"หายแล้ว"

ยืนยันการหายด้วยภาพ หายจริง



ภาพที่ 1
ก่อนการรักษา ชนิดกลีบมะไฟ ระยะที่ 3
ภาพที่ 2
รักษาด้วยยาน้ำสมุนไพรใช้ทา
ภาพที่ 3
หลังจากการรักษาได้15วัน หัวริดสีดวงเปื่อยเล็กลง
ภาพที่ 4
หทายาครั้งที่ 2 หัวเปื่อยเล็กลงอีก
ภาพที่ 5
หัวมีขนาดเล็กลง หูรูดเริ่มเข้าที่

ผลการรักษาด้วยยาน้ำสมุนไพรใช้ทา หาย ในระยะเวลาสั้นๆ







ภาพที่ 1
ก่อนการรักษา
ภาพที่ 2
หลังจากทายาได้7วัน
ภาพที่ 3
หลังจากการรักษาได้14วัน
ภาพที่ 4
หลังจากการรักษาได้21-30วัน 
"หายแล้ว"






ภาพที่ 1
ก่อนการรักษา
ระยะที่ 3 ชนิดกีบมะเฟือง มีเลือดไหล
ภาพที่ 2
รักษาด้วยการทายา
ภาพที่ 3
หลังจากรักษา ทายาได้ 7 วัน
ภาพที่ 4
ทายาสมุนไพรซ้ำครั้งที่ 2
ภาพที่ 5
หลังการรักษา ทายาได้ 14 วัน
ภาพที่ 6
"หาย"
ทำการรักษาด้วยยาน้ำสมุนไพร 21-30 วัน 

ผลการรักษาด้วยยาน้ำสมุนไพรใช้ทา หาย ในระยะเวลาสั้นๆ

ภาพเปรียบเทียบการหาย

ไม่กินยา ไม่ฉีด ไม่ต้องผ่าตัด 
เป็นยาน้ำสมุนไพรใช้ทา
"หาย ในระยะเวลาสั้นๆ"
   
"หาย ไม่มีผลข้างเคียง หูรูดทำงานได้ปกติ"



ผู้ป่วยจังหวัดพะเยา
ชนิดกลีบมะไฟ เป็นมา 20 ปี
หลังจากการรักษา ทายาได้ 28-35 วัน
ติ่งเนื้อที่มีหายไป หูรูดทำงานได้ปกติ
"หายแล้ว"
ภาพที่ 1
รักษาด้วยยาน้ำสมุนไพรใช้ทา
ทายาครั้งแรก
ภาพที่ 2
หลังจากการรักษา 
ทายาได้ 14 วัน 
ภาพที่ 3
หลังการรักษา
ทายาได้ 21 วัน
ภาพที่ 4
หลังการรักษา
ทายาได้ 28-35 วัน







ภาพที่ 1
ก่อนการรักษา
ระยะที่ 3 ชนิดกีบมะไฟ
ภาพที่ 2
รักษาด้วยการทายา
ภาพที่ 3
หลังจากรักษา ทายาได้ 7 วัน
ภาพที่ 4
ทายาสมุนไพรซ้ำครั้งที่ 2
ภาพที่ 5
หลังการรักษา ทายาได้ 14 วัน
ภาพที่ 6
ทำการรักษาด้วยยาน้ำสมุนไพร ทายาครั้งที่ 3

ผลการรักษาด้วยยาน้ำสมุนไพรใช้ทา หาย ในระยะเวลาสั้นๆ


ภาพเปรียบเทียบการหาย

   
"หาย ไม่มีผลข้างเคียง หูรูดทำงานได้ปกติ"

การดูแลตัวเองของผู้ป่วยโรคริดสีดวงทวาร

    เมื่อเป็นริดสีดวงทวาร ผู้ป่วยควรดูแลตัวเอง ไม่ควรปล่อยให้ท้องผูก หรือท้องเสียเป็นประจำ ไม่นั่งห้องน้ำนานๆทำให้ร่างกายมีการ เบ่ง การเบ่งทำให้หัวริดสีดวงโตขึ้น จากหัวเล็กกลายเป็นหัวใหญ่ จากหัวใหญ่ ทำให้หัวแตกเลือดไหลได้ (ส่งผลทำให้ติดเชื้อมะเร็งได้)
    ควรระวังเรื่องอาหาร ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ท้องผูก เช่น กลุ่มพวกเนื้อต่างๆ   หลีกเลี่ยงอาหารพวกสดๆ คาวๆ ปลาไหล เต่า ตะพาบน้ำ สัตว์ป่าและของทะเล ของหมักดองทานแล้วมีผลทำให้ ริดสีดวง เจ็บ โตขึ้น และมีเลือดไหลได้
    ควรปรับพฤติกรรมการกิน และการถ่าย การกิน ทานผัก ผลไม้ให้มากๆ (มะละกอสุก กล้วยสุก)ดื่มน้ำมากๆ จะช่วยไม่ให้ท้องผูก การถ่าย ควรอุจจาระให้เป็นเวลา ไม่ต้องรีบถ่าย (ลดการเบ่ง)ไม่ควรนั่งห้องน้ำนานๆ การจะเข้าไปถ่ายควรให้ปวดมากๆแล้วจึงเข้าไปถ่าย เพื่อลดการเบ่ง ถ่ายเสร็จแล้วให้รีบออกมาไม่ควรนั่งแช่หรือเบ่งช่วงท้าย